กิจกรรม e-sport ในไทยอนาคตสดใส เมื่อจีนออกมาตราการ ควบคุมธุรกิจเกม

กิจกรรม e-sport

กิจกรรม e-sport ที่เป็นกระแสของเด็กรุ่นใหม่ และกลายเป็นอาชีพที่ทำเงินได้มาก

กิจกรรม e-sport คือ กีฬา หรือ แค่เกมที่เล่นสนุกเฉยๆ การเล่นเกมเป็นกิจกรรมที่หลายคน คุ้นเคยเป็นอย่างดีทั้งใน PC หรือโทรศัพท์ ผู้ใหญ่หลาย ๆ คน มองว่าการเล่นเกม เป็นเรื่องที่ไร้สาระ

ในยุคปัจจุบันที่เทคโนโลยี ได้พัฒนามากขึ้น ทำให้วงการเกมพัฒนาขึ้นด้วย ในสมัยนี้เกมจึงไม่ใช่แค่เพื่อความสนุกสนาน อย่างเดียวเท่านั้น สำหรับผู้เล่นที่มีทักษะ และความสามารถในการเล่นเกม จะเอาทักษะด้านนี้ของตัวเองไปสร้างอาชีพ กอบโกยรายได้ให้กับตัวเอง จากการเล่นเกมที่ชื่นชอบได้อีกด้วย

โดยในกีฬาอื่นๆ เรามักจะใช้ร่างกาย ในการเล่นแข่งขัน e sport ในไทย เต็มรูปแบบ เช่น ฟุตบอล บาสเกตบอล หรือ การตีเทนนิส แต่ในสมัยปัจจุบัน เทคโนโลยีพัฒนาให้มี E-Sports หรือ e-games, electronic sports ได้เกิดขึ้น และยังได้รับความสนใจของหลาย ๆ เกมที่มีผู้เล่นอยู่เยอะมาก ทำให้เกิดเป็นการแข่งขัน เพื่อดูว่าคนไหนจะเก่งที่สุด

กิจกรรม e-sport

คนที่เล่นหรือ มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า Pro Player ในการแข่งขันประเภท Electronic ที่มีกฎและ กติกาแบบสากล บทความ e-sport จุดนี้จะคล้ายกับกับกีฬาอื่นๆ ทั่วไป อีกทั้งในตอนนี้ ยังเกิดเป็นทีมหรือสโมสร เหมือนกับกีฬาทั่วไป และยังมีการว่าจ้างทำสัญญาเดินทางไปการแข่งขันแบบ Tournament แข่งขันเพื่อชิงเงินรางวัลต่างๆ สร้างชื่อเสียงให้กับผู้เล่น และทีมอีกด้วย

ถึงแม้ว่าในอดีตการเริ่มต้นของ E-Sport ไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับในตอนแรก เพราะว่าการเล่นเกม ที่มีอาการติดงอมแงมกับการแข่งขันแบบกีฬานั้น เป็นเส้นบางๆ ที่คั้นกลางระหว่างสองคำนี้อยู่ บ้างก็เกิดเป็นข้อถกเถียงกันว่า E-Sport นั่นเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อเยาวชนหรือไม่

กิจกรรม e-sports เป็นอุตสาหกรรมที่ใหญ่​โดยทั่วโลก มีจำนวนผู้ที่ให้ความสนใจ

ในยุคนี้มีผู้ที่เล่นเกมมากกว่า 289 ล้านคน และมีมูลค่าในตลาดกว่า 1,080,000,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งประเทศจีนมีบทบาทเป็นหนึ่งในผู้นำในวงการนี้ ซึ่งมีผู้เล่นกว่า 815 คนที่เข้าร่วมการแข่งขันTournament ในปี 2020

และก็มีข่าวออกมาเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2021 เมื่อรัฐบาลจีนได้ออกมาประกาศ มาตราการจัดระเบียบการเล่นเกม ที่ทำให้มีผลกระทบกับเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี ในช่วงวันเวลาในระหว่างการเรียนหนังสือ

มาตราการจัดระเบียบของธุรกิจเกมในจีนก็คือ การออกกฎควบคุมการเล่นเกมของเด็กที่อายุต่ำกว่า 18 ปี โดยจำกัดการเล่นเกมไม่เกิน 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เนื่องจากเป็นห่วงด้านสุขภาพรางกาย และจิตใจของเด็ก

ดังนั้นเด็กจะเล่นเกมออนไลน์ รวมข่าวอีสปอร์ต บนทุกแพลตฟอร์ม ได้เพียงวันละ 1 ชั่วโมง ในช่วง 20:00 น. – 21:00 น. และยังกำหนดให้เล่นแค่เพียงวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ รวมถึงวันหยุดของโรงเรียนเท่านั้น ซึ่งจะห้ามเล่นเกมออนไลน์ในสัปดาห์ที่โรงเรียนเปิด เพื่อป้องกันการที่เด็กติดเกม

อีกฝ่ายที่ต้องทำตาม มาตรการดังกล่าวก็คือผู้ปกครองของเด็ก อาจารย์และบริษัทเกมด้วย โดยสองฝ่ายแรกต้องเฝ้าระวังและดูแลให้เด็กๆ ทำตามมาตราการนี้ ส่วนฝ่ายที่สองต้องมีการจัดระเบียบ เพื่อให้ผู้เล่นลงชื่อเข้าใช้ด้วยชื่อ และข้อมูลจริงเพื่อให้สะดวกต่อการคัดกรอง

กิจกรรม e-sport

ผลกระทบต่อธุรกิจเกมในจีน จากการออกมาตราการควบคุมครั้งนี้ พูดได้ว่ากระทบต่อรายได้ของบริษัทเกมขนาดใหญ่ไม่เยอะมาก เนื่องจากการจำกัดชั่วโมง การเล่นเกมออนไลน์ ต้องยอมรับว่าส่วนหนึ่ง เกม esport มือถือ ช่วยลดการติดเกมของเด็กลงได้

แต่ข้อดีอย่างหนึ่งคือเป็นการจัดระเบียบ และลดความร้อนแรงในวงการเกมออนไลน์ไปได้อีกด้วย ทำให้เห็นผลแทบอย่างรวดเร็ว ซึ่งไม่นานมานี้Newzoo ที่เป็นบริษัทสำรวจข้อมูลทางการตลาด จากประเทศสหรัฐอเมริกัน ได้วิเคราะห์ว่าปีนี้ตลาดเกมออนไลน์จีนจะยังขยายตัวมหาศาล ด้วยตัวเลขรายได้ถึง 48,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 1.7 ล้านล้านบาท)

ถือได้ว่ามากกว่าตลาดในประเทศสหรัฐฯ แต่มาตรการจำกัดชั่วโมงเล่นเกมออนไลน์ของเด็ก ส่งผลให้ตัวเลขนี้ลดลงไปมากเลยทีเดียว หลังประกาศใช้มาตรการนี้ ส่งผลต่อบริษัทในกลุ่ม Gaming ทั้งในจีนและ นานาประเทศในทันที ทำให้หุ้นของ Tencent ในจีนลดลง 1.50% ส่วนบริษัท Ubisoft และบริษัท Embracer ซึ่งเป็นผู้สร้างเกมในประเทศฝรั่งเศส และนอร์เวย์ลดลงบริษัทละ 3%

โอกาสที่ไทยจะได้รับ หลังจากการสั่งควบคุมเกมในจีน มีอะไรบ้าง

​มีการย้ายฐานการตั้งบริษัท e-sport คือกิจกรรมอะไร มาตั้งที่ไทยจากการเมื่อไม่นานที่ผ่านมา ทางรัฐบาลก็ได้ประกาศให้ E-Sport เป็นกีฬาอาชีพแล้ว อีกทั้งมีการส่งเสริมให้เกิดธุรกิจ เกี่ยวกับวงการ E-sport ก่อตั้งเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมา

ซึ่งจะเป็นการการตอบรับนักกีฬา E-sport ในประเทศไทย ไม่ว่าการก่อตั้งศูนย์ฝึกอบรมเกี่ยวกับกีฬา ศูนย์จัดการแสดงเล่นเกม รายการแข่งขัน E-sport อีกทั้งการสร้างทีมกีฬา E-sport อย่างยิ่งใหญ่ อย่างเช่น ทีมขนาดใหญ่ในวงการกีฬาไทยอย่าง ทีมปราสาทสายฟ้า บุรีรัมย์ยูไนเต็ด ก็ได้หันมาเข้าร่วมในวงการกีฬา E-sport อย่างเต็มตัวเลยทีเดียว

ในการสร้างทีมนักแข่ง ธุรกิจ e-sport ให้เข้าร่วมการชิงแชมป์ ในหลายต่อหลายเกม และสร้างชัยชนะให้กับทีมได้มากมาย กอบโกยเงินรางวัลจำนวนมาก ให้กับบรรดานักแข่ง และทีมของตัวเอง ยังรวมถึงธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับวงการเกม ได้เป็นอย่างมาก

จึงสามารถพูดได้ว่าประเทศไทย ประสบความสำเร็จกับกีฬา E-sport ขึ้นมาในอีกระดับ
ในช่วงแรกนั้นอย่างที่เรารู้กันดีว่ากีฬา E-Sport ในระดับโลก ได้เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 1990 ในต่างประเทศ ซึ่งทำให้ประเทศทางยุโรป อเมริกา ไปจนถึงเกาหลีใต้ มีการพัฒนาและให้การสนับสนุนเรื่องนี้ เป็นอย่างมากเลยทีเดียว

ซึ่งในตอนนั้นไทยเรา ยังไม่มีใครรู้จักจนเรียกได้ว่า แทบจะไม่มีคนพูดถึงเลยแม้แต่น้อย จนกระทั่งตำนานกีฬา E-sport ในประเทศไทยได้เกิดขึ้น เมื่อประมาณปี 2008 ทำให้มีการพูดถึงฮือฮาในกลุ่มเกมเมอร์กันมากขึ้น

สิ่งที่ท้าทายใน E-Sport คือระบบการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ หลายคนที่เคยดูแข่งขัน E-sport มาก่อน น่าจะคุ้นเคยกับเกมหลาย ๆ เกมที่เอามาแข่งขัน e-sport มีเกมอะไรบ้าง ไม่ว่าจะเป็น League of legend ,DOTA 2 , Counter Strike หรือเกมอื่น ๆ อีกมากมาย

แต่จะมีสักกี่คนคิดว่า การรักษาความปลอดภัย ทางไซเบอร์จะเอามาเป็นการแข่งขันในกีฬา E-Sport ได้ด้วย ปัจจุบันเราต้องหันมาให้ความสำคัญ กับการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์นั้น ซึ่งความสำคัญระดับประเทศ และสนับสนุนให้มีทุกคนเข้าใจ และเข้าถึงได้มากขึ้น รัฐบาลและอุตสาหกรรมของประเทศสหรัฐอเมริกา จึงส่งเสริมให้เป็นหนึ่งในกีฬา E-sport

โดยการแข่งขันครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนจาก TikTok และ National Initiative for Cybersecurity Education ของกระทรวงพาณิชย์ แห่งสหพันธรัฐ

ในปัจจุบันมีผู้ที่สนใจเข้าร่วม E-Sport โอลิมปิก ลงแข่งขันมากกว่า 695 คนตั้งแต่เดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ซึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา จะทำการคัดให้เหลือเพียง 20 ทีม เพื่อทำการฝึกฝนร่วมกัน และนำไปลงแข่งขันใน International Cybersecurity Challenge (ICC) ณ กรุงเอเธนส์ ที่ประเทศกรีซครั้งแรกในเดือนธันวาคม

โดยมีทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้อย่างน้อย 9 ประเทศ ประเภทของ e-sport ในการแข่งขัน แต่ละทีมต้องแสดงถึง การใช้ประโยชน์ในเรื่องเข้ารหัส การทำวิศวกรรมย้อนกลับ ฝึกความชำนาญด้านฮาร์ดแวร์ รวมถึงเรื่องของนิติวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ประสบความสำเร็จในการรักษาความปลอดภัย

มีผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าภายในปี 2029 สำนักงานสถิติแรงงานสหรัฐ วิเคราะห์ว่าจะมีความต้องการ อาชีพด้านความปลอดภัยของข้อมูล จะเพิ่มขึ้น 35% ทั้งในองค์กรภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้เกิดจากประชากรที่เพิ่มมากขึ้นด้วย

เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น ส่งผลให้ความต้องการ ทางด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์เพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน จึงเป็นจุดเริ่มต้นการแข่งขันที่คัดหาบุคคล e sport ในไทย ที่เก่งด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ มาช่วยป้องกันการโจมตี ที่จะส่งผลกระทบกับคนหมู่มากในอนาคต

ที่สำคัญหลายประเทศยังให้ความสนใจ ว่าการแข่งขันดังกล่าว จะประสบความสำเร็จหรือไม่ เพราะเป็นการแข่งขันครั้งแรก ที่นำเอาเรื่องระบบรักษาความปลอดภัย มาแข่ง E-sport อย่างเป็นทางการ

เรียบเรียงโดย อลิส

⇓⇓⇓ เรื่องราวที่น่าสนใจ อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่ ⇓⇓⇓